เกี่ยวกับเรา
ประวัติความเป็นมา
โครงสร้างสถาบันผลิตผลเกษตรฯ
สัญลักษณ์องค์กร
คณะผู้บริหาร
บุคลากร
ฝ่ายนาโนเทคโนโลยีและเทคโนโลยีชีวภาพ
ฝ่ายเทคโนโลยีชีวมวลและพลังงานชีวภาพ
ฝ่ายวิจัยเชิงพาณิชย์และการจัดการสารสนเทศ
สำนักงานเลขานุการ
ITA ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผลงานวิจัย
วิจัยและพัฒนา
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ผลิตภัณฑ์
GENGIGRAIN
KAPIOKU
Bioactive extracts
บริการ
บริการตรวจวิเคราะห์และเครื่องมือวิทยาศาสตร์
หลักสูตร
TEBC
หลักสูตรเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ประชุมวิชาการ
ABB
Casuarina
กิจกรรม
TGDA
RUN for Better LIFE
ร่วมงานกับเรา
ติดต่อเรา
ผู้ใช้บริการ
เครือข่าย
นิสิต/นักศึกษา
นักวิจัย
บุคลากร
EN
เกี่ยวกับเรา
ประวัติความเป็นมา
โครงสร้างสถาบันผลิตผลเกษตรฯ
สัญลักษณ์องค์กร
คณะผู้บริหาร
บุคลากร
ฝ่ายนาโนเทคโนโลยีและเทคโนโลยีชีวภาพ
ฝ่ายเทคโนโลยีชีวมวลและพลังงานชีวภาพ
ฝ่ายวิจัยเชิงพาณิชย์และการจัดการสารสนเทศ
สำนักงานเลขานุการ
ITA ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผลงานวิจัย
วิจัยและพัฒนา
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ผลิตภัณฑ์
GENGIGRAIN
KAPIOKU
Bioactive extracts
บริการ
บริการตรวจวิเคราะห์และเครื่องมือวิทยาศาสตร์
หลักสูตร
TEBC
หลักสูตรเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ประชุมวิชาการ
ABB
Casuarina
กิจกรรม
TGDA
RUN for Better LIFE
ร่วมงานกับเรา
ติดต่อเรา
ประกาศงานพัสดุ (ประกวดราคา)
ข่าวสาร
วันคล้ายวันสถาปนาสถาบันผลิตผลเกษตรฯ ประจำปี พ.ศ. 2566 เนื่องในโอกาสครบรอบวันสถาปนาสถาบันผลิตผลเกษตรฯ ปีที่ 32 ก้าวย่างใหม่สู่อุตสาหกรรมทางการแพทย์
สถาบันเค อะโกร-อินโนเวท (KAI) ภายใต้มูลนิธิกสิกรไทย เข้าเยี่ยมชมสถาบันผลิตผลเกษตรฯ เพื่อสร้างเครือข่ายงานวิจัยร่วมกัน
การบรรยาย เรื่อง Green Chemistry and Bioeconomy โดย Professor Dr.Eric DUBREUCQ จาก L’Institut Agro Montpellier (France)
งานเปิดตัว Innovation Intermediary by KAPI การเพิ่มศักยภาพและสร้างเครือข่ายผู้ประกอบธุรกิจฐานนวัตกรรมด้านบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยนวัตกรรมวิจัยด้านเยื่อพืชธรรมชาติ
ดร.ปรียานุช สีโชละ นักวิจัยสถาบันผลิตผลเกษตรฯ มก. ได้รับรางวัลเหรียญเงินและเหรียญทองแดง ในงานการประกวดนวัตกรรม “16th International Invention and Innovation Show INTARG® 2023” ณ เมืองคาโตไวซ์ สาธารณรัฐโปแลนด์
KAPI เปิดรับสมัครพนักงานมหาวิทยาลัยเงินงบประมาณ
ข่าวสารล่าสุด
วันคล้ายวันสถาปนาสถาบันผลิตผลเกษตรฯ ประจำปี พ.ศ. 2566 เนื่องในโอกาสครบรอบวันสถาปนาสถาบันผลิตผลเกษตรฯ ปีที่ 32 ก้าวย่างใหม่สู่อุตสาหกรรมทางการแพทย์
ดูทั้งหมด
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร ได้สร้างงานวิจัยเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรให้กับภาคเกษตรกร ผ่านการนำผลผลิตและเศษเหลือทางการเกษตรมาแปรรูปให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหารรูปแบบต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นการรับโจทย์ปัญหาจริงจากผู้ประกอบการ และช่วยแก้ปัญหาให้กับผู้ประกอบการได้โดยตรง ทำให้ผู้ประกอบการสามารถแข่งขันทางธุรกิจได้พร้อมกับสร้างความยั่งยืนแก่เกษตรกรและสังคมในเวลาเดียวกัน
SME ONE เล็งเห็น KAPI เป็นหน่วยงานที่มีความชำนาญ
และให้คำปรึกษาผู้ประกอบการ SMEs
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
อาคารต้นแบบการผลิตพืชขั้นสูงด้วยแสงเทียม เป็นอาคารที่มีวัตถุประสงค์ในการทำงานวิจัยการผลิตพืชที่ได้มาตรฐานระดับพรีเมียม โดยควบคุมการผลิตและการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืช ในระดับ Pilot Scale เพื่อต่อยอดงานวิจัยไปสู่การใช้งานระดับขยายผลเชิงพาณิชย์ งานด้านการแพทย์ และงานด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและสกัดสารออกฤทธิ์จากพืช นอกจากนี้ยังมีการเก็บแม่พันธุ์พืชที่หายากหรือให้ผลผลิตสูง สำหรับหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนที่มีความสนใจการพัฒนาเทคนิคการปลูกพืช หรือเทคนิคการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สามารถติดต่อมาได้ที่สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
เทคโนโลยีแสงเทียมสำหรับการปลูกพืชแห่งอนาคต
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
กว่า 30 ปี ที่สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง โดยทีมนักวิจัยกว่า 50 คน ในการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม และยกระดับความเป็นอยู่ของมนุษย์ ด้านต่างๆ ได้แก่ 1) พลังงานชีวภาพและการจัดการชีวมวล เพื่อพลังงานและการผลิตสารสำคัญทางชีวภาพ ไม่ว่าจะเป็น การพัฒนาพันธุ์พืช การจัดการแปลงปลูก การทดสอบมาตรฐานเชื้อเพลิงระดับสากล (ISO 17025) 2) พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและเครื่องสำอางแบบครบวงจร เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงต่างๆ อาทิ เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเซลล์ เทคโนโลยีการสกัด การหมัก และการนำส่งสารสำคัญทางชีวภาพ 3) วิจัยและพัฒนาวัสดุทางชีวภาพ เพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมไปถึง วัสดุก่อสร้าง และวัสดุทางการแพทย์ ด้วยการศึกษาและปรับปรุงลักษณะเฉพาะ พัฒนาคุณสมบัติเชิงหน้าที่ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการใช้งานต่างๆ ทางสถาบันฯ พร้อมให้บริการงานวิจัยร่วมกับทุกภาคส่วนเพื่อความยั่งยืนของสังคมและสิ่งแวดล้อม
งานวิจัยเป็นฟันเฟืองสำคัญที่ทำให้โลกพัฒนาอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
รังนกแอ่นที่พบในประเทศไทย มีสารสกัดที่สำคัญ เช่น Rejuvenate peptides, NANA extract และ Nio-Rejuvenate peptides ซึ่งมีส่วนช่วยฟื้นฟูสภาพผิวและให้ความชุ่มชื้น เสริมสร้างการเจริญเติบโตของผิวและเส้นผม ซึมซาบเร็ว ผ่านการทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ และออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ที่ย่อยสลายคอลลาเจน ซึ่งจะช่วยรักษาโครงสร้างและสภาพผิวให้มีสุขภาพดี
นวัตกรรมสารสกัดรังนกแอ่น จากต้นกำเนิดในประเทศไทย
สู่อุตสาหกรรมความงาม
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
โครงการจัดประชุมหรือสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ (International Seminar or Conference) ในหัวข้อ ASEAN Bioenergy and Bioeconomy Conference 2022: Sustainable Bioresources for Green Energy and Economy จัดโดยสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร ร่วมกับ KU Reinventing University และเตรียมพบกันในงานวันที่ 15 กันยายน 2565 ที่ศูนย์การประชุม
แห่งชาติสิริกิติ์
KU Reinventing University
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ฟ้าทะลายโจร พืชสมุนไพรไทยที่มีการนำมาใช้ในวงการแพทย์อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน โดยมีสารสำคัญ "แอนโดรกราโฟไลด์ (Andrographolide)" ช่วยลดหรือบรรเทาอาการไข้หวัด แก้ไอและลดอาการเจ็บคอ ด้วยเทคโนโลยีการปลูกพืชด้วยแสงเทียมของสถาบันผลิตผลเกษตรฯ ที่สามารถควบคุมความเข้มข้นของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของพืชได้อย่างเหมาะสม สามารถติดตามและรับชมวิธีการปลูกฟ้าทะลายโจร เพื่อให้พืชมีคุณสมบัติทางยา สะอาด ปลอดภัย และได้มาตรฐานทางการแพทย์ได้ในรายการสูงเตี้ยเรี่ยดิน
การปลูกฟ้าทะลายโจรที่มีคุณสมบัติทางยา
และได้มาตรฐานทางการแพทย์
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
นางสาวประภัสสร รักถาวร นักวิจัยของสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร (KAPI) ได้รับรางวัลผลงานวิจัยที่สร้างผลกระทบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564
สารออกฤทธิ์ลดคอเลสเตอรอลและต้านอนุมูลอิสระ
มูลค่าสูงจากธรรมชาติเพื่อผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ผลิตภัณฑ์แป้งข้าวหอมมะลิ ที่ผ่านการวิจัยและพัฒนาโดย สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร (KAPI) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผลิตจากข้าวหอมมะลิที่มีคุณภาพ คัดสรรปลายข้าวหอมมะลิจากเกษตรกรไทย เพิ่มมูลค่าโดยนำมาผ่านกระบวนการโม่ที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ มีมาตรฐาน จนได้เนื้อแป้งที่เนียนละเอียด มีกลิ่นหอมที่เป็นเอกลักษณ์ เมื่อนำมาเป็นส่วนประกอบของขนม จึงให้เนื้อสัมผัสเนียนนุ่ม พร้อมกลิ่นหอมที่น่ารับประทาน
GENGIGRAIN ผลิตภัณฑ์แป้งข้าวหอมมะลิ
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรมีความร่วมมือด้านการวิจัย พัฒนาการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืชสมุนไพร เพื่อการประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และผลิตภัณฑ์สมุนไพร โดยลงนามความร่วมมือไป เมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2564 ณ ห้องประชุม 9 อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
ความร่วมมือกับบริษัท
โนวา ออร์แกนิค จำกัด (มหาชน)
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
HERBITAGE ถูกผลิตโดยเครื่องจักรทันสมัย ในโรงงานเครื่องสำอางที่ได้มาตราฐาน ผ่านการรับรองมาตรฐานสากล ทั้ง ISO 9001:2015, ISO 22716 (GMP สากล), Halal, Asian GMP และอื่นๆ ด้วยความร่วมมือกับทีมนักวิจัยของ “สถาบัน KAPI ม.เกษตรฯ” ในการค้นคว้าและพัฒนางานวิจัย Deep Biotech Technology เพื่อเพิ่มมูลค่าของเหลือจากอุตสาหกรรมการเกษตร
จึงมั่นใจได้ว่าเซรั่มทุกขวดของ HERBITAGE นั้น มีสารออกฤทธิ์ที่ทรงประสิทธิภาพ ปราศจากสารอันตราย และปลอดภัยต่อผิวของคุณอย่างแน่นอน
ความร่วมมือกับบริษัท
Quality Plus Aesthetic International
บริการ
หลักสูตร
ประชุมวิชาการ
ตรวจวิเคราะห์
วิชาการ วิจัย และพัฒนา
สนับสนุนบัณฑิต
TEBC
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ศาสตร์แห่งแผ่นดิน
ABB Conference
Casuarina Workshop
กิจกรรม
Current Month
กันยายน 2023
นวัตกรรม & ทรัพย์สินทางปัญญา
การพัฒนาเพพไทด์จากจิ้งหรีด เพื่อการพัฒนาเครื่องดื่มชะลอการเสื่อมสำหรับผู้สูงอายุ
สารเชิงซ้อนพอลิแซคคาไรด์-เพพไทด์ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเห็ดหลินจือเขากวางอ่อน
เอนไซม์บรอมิเลนจากสับปะรด (Natural whitening, antioxidant, and anti-ageing ingredient)
พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอต (PHA) พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ
แป้งข้าวหอมมะลิผสมสำเร็จรูปสำหรับทำโดนัท แพนเค้ก และวัฟเฟิล ที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำ และปราศจากกลูเตน
ไบโอโฟมสตาร์ชมันสำปะหลังและเส้นใยธรรมชาติ
KAPI
Connect
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผล
ทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Search for:
Search Button
X